วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์2562



ที่มา: เว็บไซต์

1.นิยามภัยคุกคามไซเบอร์ตีความได้กว้าง ครอบคลุม “เนื้อหา” บนโลกออนไลน์
ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ มาตรา59 ระบุว่า เปิดทางการขยายความหมายของภัยคุกคามไซเบอร์ให้กว้างขึ้น
2.เจ้าหน้าที่รัฐสามารถขอข้อมูลจากใครก็ได้เพื่อประโยชน์ในการทำงาน
 ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ  มาตรา61เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์สถานการณ์ และประเมินผลกระทบจากภัยคุกคามไซเบอร์ มีอำนาจขอความร่วมมือจากบุคคลให้มาให้ข้อมูล
3.กฎหมายให้อำนาจเจ้าหน้าที่ ยึด-ค้น-เจาะ-ทำสำเนา คอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์
ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ มาตรา 65 หากเห็นว่า มีภัยคุกคามไซเบอร์ในระดับที่ร้ายแรงขึ้นไป สามารถค้นหาสถานที่ ยึด ค้น เจาะได้
4.เมื่อมีภัยคุกคามไซเบอร์ร้ายแรงขึ้นไป เจ้าหน้าที่รัฐสามารถสอดส่องข้อมูลได้แบบ Real-time
ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ มาตรา 67 ในกรณีที่มีภัยคุกคามระดับร้ายแรงหรือวิกฤต และเพื่อประโยชน์ในการป้องกัน ประเมินผล รับมือ ปราบปราม ระงับ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์

**ผู้ใดฝ่าฝืนและไม่ปฏิบัติตามคำสั่งมีทั้งโทษปรับและโทษจำคุก
ในกรณีที่ผู้เป็นเจ้าของ ผู้ครอบครอง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ดำเนินการใดๆ ตามที่เจ้าหน้าที่รัฐสั่ง เช่น ไม่ได้ตรวจสอบ แก้ไข หรือแม้แต่กำจัดไวรัสที่มีผลเป็นภัยคุกคามไซเบอร์ ก็จะมีความผิดไปด้วย โดยกำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท**

บัญชี Microsoft อาจถูกลบ หากไม่ Login เข้าใช้งานนานเกิน 2 ปี

    บัญชี Microsoft หรือ Microsoft Account (คือบัญชีเดียวกันกับที่ใช้บน Windows10 หรือบัญชี hotmail , msn , outlook.com , windowslive.com ) ...